ไหว้พระจันทร์ ทำไม ทำไมไม่มีเทศกาลไหว้พระอาทิตย์
เทศกาล ไหว้พระจันทร์ เทศกาลแห่งความพร้อมหน้าพร้อมตาตามธรรมเนียมจีน พุทธศาสนา ถือเอาพระจันทร์ อันปรากฎกระต่าย เป็นตัวแทนของพระโพธิสัตว์ก่อนตรัสรู้เป็นพุทธเจ้า เรื่องราวแห่งการยอมสละเลือดเนื้อเป็นอาหารแก่ “ผู้มีศีล”
ไหว้พระจันทร์ ระลึกถึง ความกรุณา
ตำนาน กระต่ายบนดวงจันทร์ในพระพุท
ปัณฑิตชาดก
ว่าด้วย ผู้สละชีวิตเป็นทาน
พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน ทรงปรารภการถวายบริขารทุกอย
ได้ยินว่า ในนครสาวัตถี มีกฎุมพีคนหนึ่งตระเตรียมกา
ในวันที่ ๗ ได้ถวายบริขารทั้งปวงแก่ภิก
ในเวลาเสร็จภัตกิจ พระศาสดา เมื่อจะทรงกระทำอนุโมทนา จึงตรัสว่า ดูก่อนอุบาสก ควรที่ท่านจะกระทำปีติโสมนั
อันอุบาสกนั้นทูลอาราธนาแล้
ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้าพรหมทัตครองราช
สัตว์แม้อื่นอีก ๓ ตัวคือ ลิง สุนัขจิ้งจอกและนากได้เป็นส
สัตว์ทั้ง ๓ นั้นรับโอวาทของสสบัณฑิตนั้
เมื่อกาลล่วงไปอยู่อย่างนี้
สัตว์ทั้ง ๓ นั้นรับคำแล้วพากันอยู่ในที
วันรุ่งขึ้น บรรดาสัตว์เหล่านั้น นากคิดว่าเราจักแสวงหาเหยื่
ครั้งนั้น พรานเบ็ดคนหนึ่งตกปลาตะเพีย
นากสูดได้กลิ่นปลา จึงคุ้ยทราย เห็นปลาจึงนำออกมา คิดว่าเจ้าของปลาเหล่านี้มี
ฝ่ายสุนัขจิ้งจอกออกเที่ยวแ
ฝ่ายลิงเข้าไปยังไพรสณฑ์ นำพวงมะม่วงมาเก็บไว้ในพุ่ม
ส่วนพระโพธิสัตว์คิดว่า พอถึงเวลาจักออกไปกินหญ้าแพ
ด้วยเดชแห่งศีลของพระโพธิสั
ได้ยินมาว่า ภพนั้นเป็นภพร้อน เพราะท้าวสักกะสิ้นอายุหรือ
ในกาลนั้น ภพของท้าวสักกะได้เร่าร้อนเ
เมื่อนากกล่าวว่า พราหมณ์ ท่านมาเพื่อต้องการอะไร?
จึงตรัสว่า ท่านบัณฑิต ถ้าข้าพเจ้าพึงได้อาหารบางอ
นากนั้นกล่าวว่า ดีละ ข้าพเจ้าจักให้อาหารแก่ท่าน
เมื่อจะเจรจากับท้าวสักกะนั
ปลาตะเพียนของเรามีอยู่ ๗ ตัวซึ่งนายพรานเบ็ดตกขึ้นจา
ดูก่อนพราหมณ์ ข้าพเจ้ามีสิ่งนี้อยู่ ท่านจงบริโภคสิ่งนี้ แล้วอยู่ในป่าเถิด.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ถลมุพฺภตา ความว่า แม้อันนายพรานเบ็ดตกขึ้นจาก
บทว่า เอตํ ภุตฺวา ความว่า ท่านจงปิ้งมัจฉาหาร อันเป็นของเรานี้ บริโภคนั่งที่โคนไม้อันรื่น
พราหมณ์กล่าวว่า เรื่องนี้จงยกไว้ก่อนเถิด ข้าพเจ้าจักรู้ภายหลัง แล้วไปยังสำนักของสุนัขจิ้ง
สุนัขจิ้งจอกกล่าวว่า ดีละ ข้าพเจ้าจักให้.
เมื่อจะเจรจากับท้าวสักกะนั
อาหารของคนรักษานาคนโน้น ข้าพเจ้านำเอามาไว้ในตอนกลา
คือเนื้อย่าง ๒ ไม้ เหี้ย ๑ ตัว นมส้ม ๑ หม้อ.
ดูก่อนพราหมณ์ ข้าพเจ้ามีอาหารสิ่งนี้อยู่
ท่านจงบริโภคอาหารสิ่งนี้ แล้วเจริญสมณธรรมอยู่ในป่าเ
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ทุสฺส เม ความว่า คนผู้รักษานาซึ่งอยู่ในที่ไ
บทว่า อปาภตํ ได้แก่ อาภตํ แปลว่า นำมาแล้ว.
บทว่า มํสสูลา จ เทฺว โคธา ความว่า เนื้อย่าง ๒ ไม้ที่สุกบนถ่านไฟ และเหี้ย ๑ ตัว.
บทว่า ทธิวารกํ ได้แก่ หม้อนมส้ม.
บทว่า อิทํ เป็นต้นไปมีความว่า เรามีสิ่งนี้ คือมีประมาณเท่านี้ ท่านจงปิ้งสิ่งนี้แม้ทั้งหม
พราหมณ์กล่าวว่า เรื่องนี้จงยกไว้ก่อนเถิด ข้าพเจ้าจักรู้ภายหลัง แล้วไปยังสำนักของลิง แม้เมื่อลิงนั้นกล่าวว่า ท่านยืนอยู่ เพื่อต้องการอะไร? จึงกล่าวเหมือนอย่างนั้น นั่นแหละ.
ลิงกล่าวว่า ดีละ ข้าพเจ้าจักให้.
เมื่อจะเจรจากับท้าวสักกะนั
ผลมะม่วงสุก น้ำเย็น ร่มเงาอันเย็นเป็นที่รื่นรม
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อมฺพปกฺกํ ได้แก่ ผลมะม่วงสุกอันอร่อย.
บทว่า อุทกํ สีตํ ได้แก่ น้ำในแม่น้ำคงคาเย็น.
บทว่า เอตํ ภุตฺวา ความว่า ดูก่อนพราหมณ์ ท่านจงบริโภคผลมะม่วงนี้ แล้วดื่มน้ำเย็น นั่งที่โคนไม้ อันรื่นรมย์ตามชอบใจ แล้วกระทำสมณธรรมอยู่ในชัฏป
พราหมณ์กล่าวว่า เรื่องนี้จงยกไว้ก่อนเถิด ข้าพเจ้าจักรู้ในภายหลัง แล้วไปยังสำนักของสสบัณฑิต แม้เมื่อสสบัณฑิตนั้นกล่าวว
พระโพธิสัตว์ได้ฟังดังนั้นก
เมื่อจะเจรจากับท้าวสักกะนั
กระต่ายไม่มีงา ไม่มีถั่ว ไม่มีข้าวสาร ท่านจงบริโภคเรา ผู้สุกด้วยไฟนี้ แล้วเจริญสมณธรรมอยู่ในป่าเ
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า มมํ ภุตฺวา ความว่า ท่านจงบริโภคเราผู้สุกด้วยไ
ท้าวสักกะได้ทรงสดับถ้อยคำข
พระโพธิสัตว์นั้นลุกขึ้นจาก
ลำดับนั้น พระโพธิสัตว์เรียกท้าวสักกะ
ท้าวสักกะตรัสว่า ท่านบัณฑิต เรามิใช่พราหมณ์ เราเป็นท้าวสักกะ มาเพื่อจะทดลองท่าน.
พระโพธิสัตว์จึงบรรลือสีหนา
ลำดับนั้น ท้าวสักกะจึงตรัสกะพระโพธิส
บัณฑิตทั้ง ๔ แม้นั้นพร้อมเพรียงบันเทิงอ
พระศาสดา ครั้นทรงนำพระธรรมเทศนานี้ม
ในเวลาจบสัจจะ คฤหบดีผู้ถวายบริขารทุกอย่า
นากในกาลนั้น ได้เป็น พระอานนท์
สุนัขจิ้งจอกได้เป็น พระโมคคัลลานะ
ลิงได้เป็น พระสารีบุตร
ท้าวสักกะได้เป็น พระอนุรุทธะ
ส่วนสสบัณฑิตได้เป็น เราตถาคต ฉะนี้แล.
จบ อรรถกถาสสบัณฑิตชาดกที่ ๖
ทานของสัตบุรุษนัยที่ ๒
๑. ให้ทานโดยศรัทธา ผู้ที่เป็นสัตบุรุษ คือคนดีทั้งหลายนั้นย่อมให้
ของกรรมว่ามีจริงจึงให้ ครั้นให้แล้วย่อมเป็นผู้มั่
ใส มีผิวพรรณงดงามในที่ๆ ทานนั้นเผล็ดผล
๒. ให้ทานโดยเคารพ คือ ให้ด้วยกิริยาที่เคารพ นอบน้อม ครั้นให้แล้วย่อมเป็นผู้มั่
มาก มีโภคะมาก และเป็นผู้มีบุตร ภรรยา ทาส และคนใช้หรือคนงาน เป็นผู้เคารพเชื่อฟัง สนใจสดับรับ
ฟังคำสั่ง ตั้งใจใคร่รู้ในที่ๆ ทานนั้นเผล็ดผล
๓. ให้ทานตามกาลอันควร ครั้นให้แล้ว ย่อมเป็นผู้มั่งคั่ง มีทรัพย์มาก มีโภคะมาก และย่อม
เป็นผู้มีความต้องการที่เกิ
สามารถจะนำทรัพย์สินนั้นไปใ
ไม่ใช่ได้ทรัพย์มาเมื่อหมดก
กาลทาน หรือทานที่ให้ในกาลอันควรนี
อังคุตตรนิกาย ปัญจกนิบาต ว่ามีอยู่ ๕ อย่าง คือ
๑. อาคันตุกะทาน คือทานที่ให้แก่ผู้มาสู่ถิ่
สถานที่และบุคคลในถิ่นนั้น เราก็ช่วยสงเคราะห์ให้ที่พั
แม้พระภิกษุที่จรมาจากที่อื
ก็ช่วยอนุเคราะห์ท่าน ด้วยการถวายอาหารบิณฑบาต และของใช้ที่จำเป็นแก่สมณะ ทำให้ท่านได้รับความ
สะดวกสบายไม่เดือดร้อน อย่างนี้จัดเป็น อาคันตุกะทาน และเป็นกาลทาน
๒. คมิกะทาน คือทานที่ให้แก่ผู้เตรียมตั
ถิ่นอื่น สัตบุรุษย่อมสงเคราะห์คนที่
อุปโภคบริโภคที่สมควร
๓. ทุพภิกขทาน คือ ทานที่ให้ในสมัยข้าวยากหมาก
แม้ในสมัยที่น้ำท่วม ไฟไหม้ ผู้คนเดือดร้อนไร้ที่อยู่ การให้ที่พักอาศัย และข้าวของ เครื่องใช้ข้าวปลาอาหาร
ในเวลานั้น ก็จัดเป็นกาลทาน
๔. นวสัสสะทาน การให้ข้าวใหม่แก่ผู้มีศีล
๕. นวผละทาน การให้ผลไม้ใหม่แก่ผู้มีศีล
ที่ข้อ ๔ และข้อ ๕ จัดเป็นกาลทาน เพราะข้าวใหม่ก็ดีผลไม้ที่อ
จะมีอยู่เสมอตลอดปี มีเป็นครั้งเป็นคราวตามฤดูก
ถวายแก่พระภิกษุสงฆ์ผู้ทรงศ
ว่า เวลาที่ข้าวออกรวงเป็นน้ำนม
ก็เอามาทำเป็นข้าวเม่า ข้าวสุกแล้วก็เอามาสีเป็นข้
ผลไม้แก่จัดเขาก็จะเก็บเอาม
บางคน เมื่อเห็นข้าวใหม่หรือผลไม้
นับว่าท่านเหล่านี้ ได้ทำบุญของท่านถูกกาละเทศะ
กาลทาน
บางแห่งท่านรวมเอาการให้ข้า
คือ การให้ทานแก่คนเจ็บไข้ไร้ที
เช่นกัน
เพราะเหตุที่กาลทาน เป็นทานที่ให้ในเวลาจำกัดทำ
จึงตรัสว่าเป็นทานที่มีผลมา
หรือช่วยเหลือให้ทานของผู้น
ยินดีในการให้ทาน ทานที่บุคคลให้แล้วย่อมมีผล
๔. มีจิตคิดอนุเคราะห์จึงให้ หมายความว่า สัตบุรุษนั้นเมื่อเห็นผู้ใด
แคลนสิ่งใด ก็มีจิตคิดช่วยเหลือคนเหล่า
ช่วยเหลือเขาแล้ว เขาจะต้องตอบแทนคุณของเรา แต่ช่วยเหลือเพราะต้องการให
สบาย ครั้นให้แล้วย่อมเป็นผู้มั่
ที่เป็นของดียิ่งๆ ขึ้นไปในที่ที่ทานนั้นเผล็ด
๕. ให้ทานโดยไม่กระทบตนและผู้อ
ไม่กระทบคุณงามความดีของผู้
เพียงครั้งละเล็กๆ น้อยๆ ตามฐานะของตน คนที่ทำมากบางคนทำแล้วก็ชอบ
ผู้อื่นที่ทำน้อยกว่า เป็นการยกตนข่มท่านอย่างนี้
เพราะอะไร
เพราะเราอุตส่าห์ละความตระห
ความดีของเราเองด้วยการเพิ่
เพราะหูนั้นเข้า ถ้าเขาขาดโยนิโสมนสิการ จิตใจที่เป็นกุศลของเขาก็ดั
ใจก็จะเกิดขึ้นแทน อย่างนี้ชื่อว่าทำลาย คุณงามความดีของผู้อื่น ทำให้ผู้อื่นเสื่อมจากคุณคว
อยู่ หรือบางคนเป็นผู้รักษาศีล ๕ โดยเคร่งครัดแต่ได้ให้สุราย
ตามทำให้ผู้รับมึนเมา ขาดสติ สามารถจะกระทำบาปอกุศลต่างๆ
ให้ที่กระทบความดีของตนและผ
อย่างเรา กลับทำให้เขาเสื่อมเสียจากศ
ตนและผู้อื่นแล้ว ย่อมเป็นผู้มั่งคั่ง มีทรัพย์มาก มีโภคะมาก และโภคทรัพย์นั้น ย่อมไม่เป็นอันตรายจากไฟ
จากน้ำ จากพระราชา จากทายาทหรือจากคนที่ไม่เป็
ที่มา ชาดก และ ผู้แต่งเรื่อง โดย ประณีต ก้องสมุทร
ฝ่ายนิทานปรัมปราจีน กระต่ายบนดวงจันทร์ ปรากฎใน 大唐西域記 เล่าแบบพระไตรปิฎกเปะ ว่ามี ลิง จิ้งจอก กระต่าย (พระไตรปิฎกเล่าว่า นาก ด้วย) เล่าว่าเง็กเซียนฮ่องเต้ ซาบซึ้งในความเสียสละ ให้ไปอยู่บนดวงจันทร์ กับ นางฟ้าฉางเอ๋อ
就在兔子跳入熱鍋的一剎那,突然有一雙溫暖的大手,將兔
จะเห็นได้ว่า ตำนานคงเอามาจากชาดก เพราะยุคสมัยถัง พุทธศาสนาเริ่มรุ่งเรืองในจ
นักษัตรกระต่าย ตามโหราศาสตร์จีนเรียก เหม่า หรือ เบ้า 卯 ผู้ที่เกิดในปีกระต่าย เชื่อว่า มีความจำดี เป็นนักพูดกล่อมให้คนคล้อยต
ซินแสหลัว